การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ “ระบบอุดมศึกษาไทย”

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ “ระบบอุดมศึกษาไทย” ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก สำคัญอย่างไร        จากสถานการณ์โลกในมิติต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ที่เห็นได้ชัดนั่นก็คือวิกฤตโควิด-19 อีกทั้งยังมีปัญหาช่องว่างระหว่างยุค สังคมสูงวัย ความเหลื่อมล้ำในโอกาสการเข้าถึงการศึกษา รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างฉับพลัน และการเปลี่ยนขั้วอำนาจเศรษฐกิจของโลก จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ระบบอุดมศึกษาไทยให้เท่าทันต่อสถานการณ์ข้างต้น ? ระบบอุดมศึกษาไทย พร้อมแค่ไหนต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยภาพรวมของประเทศยังมีความท้าทายในการปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์โลก เนื่องจากกำลังคนยังไม่สอดรับกับความต้องการของประเทศ และการพัฒนาระบบอุดมศึกษานั้นยังคงต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักการในการจัดการอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ยังต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับแผน และยุทธศาสตร์ชาติ โดยคำนึงถึงจุดมุ่งหมาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ศักยภาพ และความพร้อมของสถาบันอุดมศึกษา ตามกฎกระทรวงการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 อีกด้วย ? จากเหตุผลดังกล่าว ระบบอุดมศึกษาของไทย จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ หรือ Paradigm shift ใน 4 ด้าน ผ่านเลนส์ (L-E-N-S) ซึ่งประกอบด้วย ? L – Lifelong Learning Support…

ลงทุนพัฒนาประเทศผ่านสถาบันอุดมศึกษาฯ

ลงทุนพัฒนาประเทศผ่านสถาบันอุดมศึกษา ปรับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง ยุทธศาสตร์ภาคเหนือ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย และ เศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การพัฒนาอาหารสู่ครัวโลก และ การเกษตร ยุทธศาสตร์ภาคตะวันตก วิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ อตุสาหกรรมบริการ การท่องเที่ยว เชิงธรรมชาติ การโรงแรมและที่พัก อุตสาหกรรมการเกษตร เกษตรอินทรีย์ อตุสาหกรรมอาหาร และการบริการ ยุทธศาสตร์ภาคกลาง การท่องเที่ยว การเกษตร และ สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ภาคใต้ เทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ ยุทธศาสตร์ กรุงเทพมหานคร การดูแลผู้สูงอายุเขตเมือง อุตสาหกรรมบริการ ที่มา : สำนักติดตามและประเมินผลอุดมศึกษา

ประกันคุณภาพการศึกษาและส่งเสริมสถาบันอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ. 2557 และอื่นๆ ที่มา : สำนักติดตามและประเมินผลอุดมศึกษา