“การเปลี่ยนผ่านจากสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มาสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ทำให้เราต้องเปลี่ยนแปลงมหาวิทยาลัย
กระบวนงาน รวมทั้งผลงานหลักที่จะประกอบสร้าง
ส่งมอบแก่สาธารณะ ในฐานะมหาวิทยาลัยที่ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่
ภาพเหล่านี้คือสาระสำคัญที่ผมสื่อถึง
พวกเราชาววไลยอลงกรณ์”
ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว
อธิการบดี มรภ.วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
4 ตุลาคม 2562
นโยบายและยุทธศาสตร์ อววน. พ.ศ. 2563-2570
Platform and program Related RU.
VRU. Goals 2020
เป้าหมายวไลยอลงกรณ์ ในปี 2020
แผนพัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสมรรถนะและทักษะเพื่ออนาคต
Objective 1
บคุลากรวัยทำงานมีทักษะใหม่ ความเป็นพลเมือง สามารถปรับตัวจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและรูปแบบธุรกิจอย่างฉับพลัน (Disruption)
- KR 1.1 หลักสูตรมีความร่วมมือ หลักสูตรสหวิชาที่รับนักศึกษาได้ จำนวน … หลักสูตร
- KR 1.2 ระบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning Community Service and Micro Credential and Credit Bank
- KR 1.3 หลักสูตรระยะสั้น Re-Skill, Up-Skill for all Target Groups จำนวน …. หลักสูตร
- KR 1.4 คณาจารย์ ครูในสถานศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21
- KR 1.5 ผู้ประกอบการใหม่ นวัตกรรมสังคม สมาชิกจิตอาสาที่ได้รับการบ่มเพาะ
Objective 2
ระบบการเรียนรู้เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เข้าถึงได้สำหรับทุกคน
- KR 2.1 ทรัพยากรการเรียนรู้ทางกายภาพสนับสนุนการเรียนรู้แบบ Active Learning
- KR 2.2 กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น Active and Service Learning
- KR 2.3 ชุดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ Online เสริมสร้างสมรรถนะสำหรับกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม
- KR 2.4 สถาบันพัฒนาสมรรถนะการสอนและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
- KR 2.5 สถาบันพัฒนาอาชีพ ผู้นำท้องถิ่น และบ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่ นวัตกรรมชุมชน
Objective 3
เยาวชนมีทักษะแห่งอนาคตโดยเฉพาะทักษะด้านวิจัย วิศวกรรมและนวัตกรรม
- KR 3.1 Digital Courseware + STEAM Lab and STEAM Program for Network’s Schools
- KR 3.2 ครูผู้สอนมีสมรรถนะในการออกแบบและการจัดการเรียนรู้แบบ STEAM
- KR 3.3 ห้องเรียนต้นแบบการเรียนรู้แบบ Blended Learning and STEAM
- KR 3.4 STEAM Innovation Contest and Conference
VRU Learning and Teacher Model
แผนส่งเสริมการวิจัย นวัตกรรมเพื่อพัฒนาพื้นที่
จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระแก้ว และกลุ่มจังหวัดภาคกลาง
- ผลงานวิจัย นวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพและผลผลิตการเกษตรปลอดภัย
- ผลงานวิจัย นวัตกรรมและการสร้างคุณค่าใหม่ในอุตสาหกรรมบริการ
- ผลงานวิจัย นวัตกรรมการออกแบบและจัดการการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- ผลงานวิจัย นวัตกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมและการเสริมสุขภาวะชุมชน ความผาสุก
VRU Innovation Hub
- Educational Innovation Center
1. Learning Media Production Service
2. Educational Digitization Service
3. Schools Engagement and PLC Forum
4. Online Innovative Learning and WLOG
5. ED. Research and Innovation Program - Social Innovation Center
1. Plllcy Design Laboratory
2. Health Promotion Laboratory
3. Inspiration and Creative Laboratory
4. Thai Wisdom and Inter Cultural Study
5. WB. Research and Innovation Program - Science and Technology Innovation Center
1. Food and Beverage Laboratory
2. Organic Agrlculture Laboratory
3. Automatic and loT Laboratory
4. Digital Multimedia Creation Laboratory
5. Environmental Innovation Laboratory
6. S&T Research and Innovation Program - Service Business and Community Enterprise Innovation Center
1. Business Intellgence Laboratiory
2. E-Commerce and Digital Maketing Laboratory
3. Innovative Business Startup Incubation
4. Design Thinking Laboratory
5. CE. Research and Innovation Program
แผนงานส่งเสริมการวิจัย นวัตกรรมเพื่อพัฒนาพื้นที่
- KR 1 ผลงานวิจัยการจัดการขยะของพื้นที่ ผลิตภาพภาคการเกษตรด้วยการใช้ระบบเกษตรอัจฉริยะ การเพิ่มสัดส่วนชุมชนที่มีการใช้พลังงานหมุนเวียน
- KR 2 ผลงานวิจัยเชิงบูรณาการที่สะท้อนคุณค่าผู้สูงอายุเพื่อดึงศักยภาพและเสริมพลัง และการจัดการภาพรวมของประเทศและรดับพื้นที่
- KR 3 ผลงานวิจัย เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ช่วยเหลือการดำรงชีวิต (Assisted Living) สำหรับผู้สูงอายุและคนพิการให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานสากล
- KR 4 นวัตกรรม หรือโครงการทางสังคมที่เสริมและสนับสนุนให้คนทุกวัยใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีคุณภาพ มีแรงยึดเหนี่ยวทางสังคม (Social cohesion) และผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตในสังได้อย่างเต็มภาคภูมิ
- KR 5 เกิดนวัตกรรมเมืองที่ใช้หลักการ Universal Design ที่มีการออกแบบให้เป็นมิตรต่อผู้สูงอายุและประชากรทุกช่วงวัย
- KR 6 องค์ความรู้ที่เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก
- KR 7 ความรู้สังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์ถูกนำไปใช้ในการพัฒนานโยบายสาธารณะและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสังคม รวมทั้งกลไกการแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม
- KR 8 จำนวนวิจัยข้ามศาสตร์ที่สร้างและปฏิบัติการร่วมกับสังคม และเผยแพร่สู่สังคมในรูปแบบต่างๆ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
- O1 : นวัตกรรมชุมชน วิสาหกิจชุมชน และ Smart SMEs เพื่อยกระดับรายได้ให้กับชุมชน ปีละ 20 นวัตกรรม
KR 1.1 : ระบบข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหาและประเด็นการพัฒนาในพื้นที่เป้าหมาย
KR 1.2 : เครือข่ายประชารัฐเพื่อการพัฒนาแก้ปัญหาของชุมชนในพื้นที่
KR 1.3 : นวัตกรรมชุมชนเพื่อพัฒนาและยกระดับเศรฐกิจฐานรากในพื้นที่
KR 1.4 : กิจการเพื่อสังคม/นวัตกรรมสังคมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในเขตพื้นที่ที่มีการจัดตั้ง - O2 : Smart Community / ชุมชนนวัตกรรม ที่สามารถพึ่งพอพัฒนาตนเองและจัดการตนเองเพิ่มขึ้น 20 ชุมชน
KR 2.1 : เครือข่ายคณะกรรมการชุมชนที่ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างแรงบันดาลใจ
KR 2.2 : แผนพัฒนาชุมชนนวัตกรรมและ Smart Community ที่พื้นที่/ชุมชนกำหนดรวมกัน
KR 2.3 : ชุมชนต้นแบบที่สามารถพัฒนาตนเองและจัดการปัญหาต่างๆ ของตนเองได้ - O3 : มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานทุน ทรัพยากร วัฒนธรรมในพื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี
KR 3.1 : OTOP ที่ได้รับการพัฒนาตลอดห่วงโซ่คุณค่า
KR 3.2 : กลุ่มวิสาหกิจในชุมชนที่ได้รับการพัฒนากิจการแบบบูรณาการ
KR 3.3 : ผู้ประกอบการรายใหม่ นวัตกรชุมชนที่ได้รับการบ่มเพาะและพัฒนากิจการ
KR 3.4 : ตลาดจำหน่ายสินค้าและบริการที่ได้รับการพัฒนาและมีระบบบริหารการตลาดชุมชนอัจฉริยะ
KR 3.5 : เวที ช่องทาง สื่อเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเครือข่ายชุมชนนวัตกรรมที่เชื่อมต่อกับสู่ภายนอก - O4 : ระบบข้อมูลเพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมายคนจน
KR 4.1 : ฐานข้อมูลสนับสนุนการพัฒนากลุ่มคนร่วมพัฒนาอาชีพ
KR 4.2 : โอกาสเข้าถึงสมรรถนะการใช้งานอินเทอร์เน็ตประชารัฐของกลุ่มคนขึ้นทะเบียน
KR 4.3 : ช่องทางเเลกเปลี่ยนเรียนรู้และเข้าถึงความรู้เพื่อพัฒนา ยกระดับฐานะ - O5 : คนจนไม่น้อยกว่า 200 คน ได้รับการบริการและความช่วยเหลือกให้มีรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
KR 5.1 : เครือข่ายประชารัฐขจัดความเหลื่อมล้ำและยกระดับคุณภาพชีวิตในพื้นที่
KR 5.2 : กลุ่มอาชีพ/ครัวเรือนร่วมพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง
KR 5.3 : ครัวเรือนอาสาร่วมแก้ไขปัญหาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต