แทนคุณ วงค์ษร

ประชุมคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศ และข้อมูลสารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์

วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 เวลา 09.00 น. ผศ.ดร.เจษฎา ความคุ้นเคย รองอธิการบดี เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการบริหารข้อมูลสารสนเทศ และข้อมูลสารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ ในข้อที่ 3 คณะกรรมการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ (Information Center) ณ ห้องประชุมสภาหาวิทยาลัย ชั้น 3 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ และผ่านทางออนไลน์ Microsoft Teams ดาวน์โหลดรูปภาพเพิ่มเติม>>>https://bit.ly/3HvIEW1 #VALAYA #VRU #วไลยอลงกรณ์ #Visionary #เป็นผู้รอบรู้และมีวิสัยทัศน์ #Activeness #ทำงานเชิงรุกริเริ่มสร้างสรรค์ #LikeToLearn #สนใจใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง #Adaptive #ปรับตัวได้ดีพร้อมนำการเปลี่ยนแปลง #Yields #สร้างผลงานเป็นที่ประจักษ์ #AcceptanceAndFriendliness #เป็นที่ยอมรับในการเป็นกัลยาณมิตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษศึกษาดูงานด้านการขับเคลื่อนการพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มยุทธศาสตร์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และด้านงานนโยบายและแผน

วันที่ 16 มิถุนายน 2565 เวลา 09.00 น. ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดี พร้อมด้วย ผศ.ดร.เจษฎา ความคุ้นเคย รองอธิการบดี ผศ.ดร.อัญชัญ ยุติธรรม ผู้ช่วยอธิการบดี นางนงลักษณ์ สมณะ ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน “ร่วมต้อนรับคณะผู้บริหารจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ” เข้าศึกษาดูงานด้านการขับเคลื่อนการพลิกโฉมสถาบันอุดมศึกษาตามกลุ่มยุทธศาสตร์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และด้านงานนโยบายและแผน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 3 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ ดาวน์โหลดรูปภาพเพิ่มเติม>>>https://bit.ly/3QpKrjr #VALAYA #VRU #วไลยอลงกรณ์ #Visionary #เป็นผู้รอบรู้และมีวิสัยทัศน์ #Activeness #ทำงานเชิงรุกริเริ่มสร้างสรรค์ #LikeToLearn #สนใจใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง #Adaptive #ปรับตัวได้ดีพร้อมนำการเปลี่ยนแปลง #Yields #สร้างผลงานเป็นที่ประจักษ์ #AcceptanceAndFriendliness #เป็นที่ยอมรับในการเป็นกัลยาณมิตร

ระเบียบวาระประชุมกองนโยบายและแผน ครั้งที่ 6/2565

ระเบียบวาระการประชุม กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครั้งที่ ๖/๒๕๖๕ วันศุกร์ที่ ๑๖ มิุนายน ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุม Learning Space ชั้น ๑ อาคารเรียนรวมวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ———————————————————————— ระเบียบวาระที่ ๑  เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุมกองนโยบายและแผนครั้งที่ ๕/๒๕๖๕ ระเบียบวาระที่ ๓  เรื่องเสนอให้ที่ประชุมทราบ ๓.๑ การติดตามผลการดำเนินงานกองนโยบายและแผน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๓.๒ การประชุมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ ๓.๓ กิจกรรม ๑๒ เรื่องเล่า เราสนับสนุน VRU เรื่อง โมเดลการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management Model) โดย คุณอรอุมา…

จำนวนประชากรในประเทศไทย

ปัจจุบันประเทศไทย มีจำนวนประชากรในประเทศทั้งหมด 66,171,439 คน แบ่งเป็น ชาย 32,339,118 คน และ หญิง 33,832,321 คน กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของไทยมีประชากรรวมสูงสุดอันดับแรกอยู่ที่ 5,527,948 คน คิดเป็น 8.35 % ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ จังหวัดอื่นๆ ที่มีประชากรสูงสุดใน 10 อันดับแรกของประเทศ ได้แก่ นครราชสีมา 2,634,145 คน อุบลราชธานี 1,868,501 คน ขอนแก่น 1,790,859 คน เชียงใหม่ 1,787,295 คน ชลบุรี 1,583,633 คน บุรีรัมย์ 1,579,802 คน อุดรธานี 1,566,510 คน นครศรีธรรมราช 1,549,339 คน และศรีสะเกษ 1,457,554 คน   ซึ่งจากข้อมูลการเพิ่มลดจำนวนประชากรปี 2564…

(ร่าง) งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง 2565

งบประมาณ ปี 2565 ​ การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับ​ การดำเนินภารกิจเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามยุทธุศาสตร์ชาติ ​ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ​ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ​ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ​ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธุศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด – 19 พ.ศ. 2564 – 2565 ​ แผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธุศาสตร์ชาติ ​ แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ​ นโยบายสำคัญของรัฐบาล ​ ​ โดยงบประมาณดังกล่าว ได้จัดสรรให้กระทรวงต่าง ๆ เพื่อดำเนินการตามนโยบาย ในการนี้ LIRT : คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้จัดทำ อินโฟกราฟิก (ร่าง) งบประมาณรายจ่าย 2565 จำแนกตามกระทรวงเพื่อสะดวกในการเข้าใจ​ อ่านเพิ่มเติม งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี)

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ “ระบบอุดมศึกษาไทย”

การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ “ระบบอุดมศึกษาไทย” ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก สำคัญอย่างไร        จากสถานการณ์โลกในมิติต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ที่เห็นได้ชัดนั่นก็คือวิกฤตโควิด-19 อีกทั้งยังมีปัญหาช่องว่างระหว่างยุค สังคมสูงวัย ความเหลื่อมล้ำในโอกาสการเข้าถึงการศึกษา รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างฉับพลัน และการเปลี่ยนขั้วอำนาจเศรษฐกิจของโลก จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ระบบอุดมศึกษาไทยให้เท่าทันต่อสถานการณ์ข้างต้น ? ระบบอุดมศึกษาไทย พร้อมแค่ไหนต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยภาพรวมของประเทศยังมีความท้าทายในการปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์โลก เนื่องจากกำลังคนยังไม่สอดรับกับความต้องการของประเทศ และการพัฒนาระบบอุดมศึกษานั้นยังคงต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักการในการจัดการอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ยังต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับแผน และยุทธศาสตร์ชาติ โดยคำนึงถึงจุดมุ่งหมาย พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ศักยภาพ และความพร้อมของสถาบันอุดมศึกษา ตามกฎกระทรวงการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 อีกด้วย ? จากเหตุผลดังกล่าว ระบบอุดมศึกษาของไทย จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ หรือ Paradigm shift ใน 4 ด้าน ผ่านเลนส์ (L-E-N-S) ซึ่งประกอบด้วย ? L – Lifelong Learning Support…

พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564

  คืนผลงานให้นักวิจัย คืนผลประโยชน์ให้ประเทศไทย ด้วยกฎหมายใหม่ TRIUP ACT “ทำความเข้าใจ พ.ร.บ. ใหม่ ที่จะเปลี่ยนวิถีนักวิจัยและเอกชนไทยหัวใจนวัตกรรมไปตลอดกาล‼️…”        ครั้งแรก.. กับการเปิดตัว “พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 เพื่อการพัฒนา เศรษฐกิจสังคมไทยอย่างก้าวกระโดด ความหวังของเอกชน และภาคประชาชน” – 4 – 6 เมษายน เวลา 10.00 – 18.00 น. – ณ มิตรทาวน์ฮอลล์ 1-2 ชั้น 5 สามย่านมิตรทาวน์ – แล้วมาพบกันในงานมหกรรม TRIUP FAIR 2022        การเปิดตัวครั้งแรกของ “พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564” ที่จะมาปลดล็อคความเป็นเจ้าของงานวิจัย สร้างศักยภาพไทยไร้ขีดจำกัด…