บทความเกี่ยวข้องกับการศึกษา และด้านการวางแผน นโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัย

แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2567 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2567กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

แผนด้านการอุดมศึกษา เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศไทย พ.ศ. 2564 – 2570 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 – 2570

🔊 [ FullText : 4 Platforms 16 Programs พร้อม OKRs ] ท่านสามารถดาวน์โหลดไฟล์ “นโยบายและยุทธศาสต์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2570 และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2565 ” ได้ที่ www.tsri.or.th นโยบายและยุทธศาสต์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2570 และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2565สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

นโยบายและยุทธศาสต์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2570 และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2563 – 2565แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

แผนด้านการอุดมศึกษา เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศไทย พ.ศ. 2564 – 2570 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 – 2570

การจัดทำแผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ เป็นการดำเนินการตาม พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ทบทวนและปรับปรุงแผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 – 2570 ให้สอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ที่สำคัญในช่วง พ.ศ. 2566 – 2570 และเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2566 – 2570 โดยยังคงเน้นย้ำบทบาทอุดมศึกษาเป็นฐานการพัฒนากำลังคนและองค์ความรู้แบบก้าวกระโดดและยั่งยืน โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 – 2570 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 – 2570 แล้วเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2565 แผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 – 2570 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566 – 2570 เป็นกรอบการยกระดับคุณภาพของระบบอุดมศึกษาให้เกิดการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ที่เป็นปัจจัยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและความยั่งยืนของสังคมไทย กำหนดวิสัยทัศน์ “อุดมศึกษาสร้างคน…

DGA แจกเทมเพลท TOR Data Catalog ขององค์กร ฟรี

DGA แจกเทมเพลท TOR Data Catalog ขององค์กร ฟรี ไม่ต้องไปเริ่มต้นใหม่ หน่วยงานที่ต้องการพัฒนา Data Catalog ของตนเองสามารถดาวน์โหลด TOR Template ของ DGA ไปใช้ตั้งต้นได้ ไม่สงวนลิขสิทธิ์ 🙋‍♂‍ มี 2 รูปแบบให้เลือก ① แบบที่ต้องการใช้ CKAN เวอร์ชันที่ปรับปรุงโดย DGA (with DGA extension) ลิงก์ https://bit.ly/3zZRA1U ② แบบที่หน่วยงานต้องการพัฒนาจาก CKAN เวอร์ชันต้นฉบับด้วยตนเอง (without DGA extension) ลิงก์ https://bit.ly/3xWUL8A ซอฟต์แวร์ที่ DGA เผยแพร่เป็น Open Source >> https://bit.ly/3vXzoTs สามารถดูคลิปสอนการติดตั้งซอฟต์แวร์ได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=mkfSTWVzUjY #DataCatalog #สพร #DGA ที่มา :…

15 กุมภาพันธ์ วันเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์

ทำไมจึงเรียก… “วันเจ้าฟ้า” ๑๕ กุมภาพันธ์ วันเจ้าฟ้า….. ทำไมจึงเรียกเช่นนั้น ?? ตามบันทึกที่ส่งต่อกันมายังไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้คิดขึ้นเป็นท่านแรก แต่การที่เรียกวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ของทุกปีนั้นว่า “วันเจ้าฟ้า” มีนัยแห่งมูลเหตุดังนี้ พระอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ๑. เป็นวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของ สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร พระราชธิดาลำดับที่ ๔๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ซึ่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงหมายเอาความสำคัญดังกล่าวเป็นวันบำเพ็ญกุศลเพื่ออุทิศถวาย และจัดให้มีการวางพวงมาลา ในฐานะพระอง๕์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐต่อมหาวิทยาลัย นับตั้งแต่ทรงประทานกำเนิด “โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์”   ๒. วันเจ้าฟ้ามีนัยมาตามข้อ ๑ แต่ในแรกเริ่มเดิมที่เมื่อเกิดการวางพวงมาลาขึ้นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เรียกวันดังกล่าวว่า “วันเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์” ตามพระนามของพระองค์ท่าน และวันดังกล่าวโรงเรียนราชินีบนก็จัดให้มีงานในรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน และเรียกว่า “วันวไลยอลงกรณ์” (แต่บันทึกในปี พ.ศ.…

การพัฒนากำลังตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ Manpower Development

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ถนนศรีอยุธยา) : ดร. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดการประชุมหารือเรื่องการผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (Manpower Development) โดยมี ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวง อว. ผู้บริหารภาคเอกชน อธิการบดี ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมประชุม การประชุมหารือในครั้งนี้ มีการนำเสนอการผลิตและพัฒนากำลังคนหลักสูตร Non-degree และหลักสูตร Degree โดย อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์) ประธานอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ผศ.ดร.วิโรจน์ ลิ้มไขแสง) และประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ผศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า) และการนำเสนอข้อมูลส่วนของภาคเอกชน โดย ผู้อำนวยการสำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์) รองนายกรัฐมนตรี กล่าวตอนหนึ่งว่า การพัฒนากำลังคนเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของประเทศมีความสำคัญมากในการพัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 ความต้องการบุคคลกรทั้งในและนอก EEC มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งกำลังขับเคลื่อนนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง…

โครงการอาสาประชารัฐ

ปรัชญาของโครงการ   บูรณาการยุทธศาสตร์ชาติ แผนอุดมศึกษาระยะยาว และแผนการปฏิรูประบบการอุดมศึกษา มุ่งสู่วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มุ่งสร้างประชากรของโลกในศตวรรษที่ 21 ฯพณฯ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ” การเรียนที่แบบเป็น Lecture หรือ Case Study ที่มุ่งเน้นแต่การให้ความรู้เชิงทฤษฎีอย่างเดียว (Head) คงไม่เพียงพอ แต่จะทำอย่างไรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสลงมือทำจริง (Head) การสร้างการตระหนักรู้และส่งเสริมให้คนเป็นคนดี (Heart) พร้อมกับมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง (Health) ซี่งท้ายที่สุดจะสร้างประชากรของโลกในศตวรรษที่ 21 (Global Smart Citizen in 21th Century)” "อาสาประชารัฐ" จะให้อะไรกับสังคมไทย หลักเกณฑ์และเงื่อนไขสำคัญ แผนดำเนินงานและงบประมาณ สถาบันอุดมศึกษาจะเข้าร่วมโครงการได้อย่างไร? สถาบันอุดมศึกษาสามารถส่งข้อเสนอได้ทางเว็บไซต์โครงการอาสาประชารัฐ (http://hsmi2.psu.ac.th/par) ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2562 หน่วยงานงานรับผิดชอบ สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา…

Youth Startup Fund by กระทรวงอุดมศึกษาฯ

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) จัดตั้งกองทุนยุวสตาร์ทอัพ (Youth Startup Fund) ทุนประเดิม 100 ล้านบาท ผลักดันเยาวชนสู่การเป็นสตาร์ทอัพรุ่นใหม่   ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการ NIA นำเสนอเรื่อง การส่งเสริมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (Youth Startup Fund) ต่อยอดโครงการ Startup Thailand League ภายใต้แนวคิด“Youth is a Future Changer” ในที่ประชุมหารือเรื่องแนวทางการบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมของประเทศและการปฏิรูปอุดมศึกษา   Youth Startup Fund หรือ กองทุนยุวสตาร์พอัพ คือ กองทุนสนับสนุนเยาวชนและสถาบันการศึกษา พัฒนาศักยภาพเยาวชนไปสู่การเป็นผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ ทุนประเดิม 100 ล้านบาท ผ่านการบ่มเพาะ (Grooming) สร้างประสบการณ์จริง (Experiencing) สร้างทรายเม็ดใหม่ (Enterprising) พร้อมทั้งเปิดเวทีแสดงความสามารถของคนรุ่นใหม่ เช่น Youth Ted Talk, Youth Policy…