สัมนาเชิงปฏิบัติการ “การทบทวนและจัดทำแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

กองนโยบายและแผน ได้จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการทบทวนและจัดทำยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 8-9 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมราชนครินทร์ ชั้น 5 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ โดยท่านอธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว เป็นประธานในการเปิดสัมมนาฯ และเป็นประธานในการทบทวนและจัดทำยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2560-2564 ได้ดำเนินงานครบรอบการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง และเตรียมการสำหรับเป็นแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นี้ จึงเป็นภาระกิจที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยทุกคณะ หน่วยง่านที่ต้องระดมความคิด วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน และสถานการณ์อุดมศึกษาทั้งไทย และต่างชาติ เพื่อร่วมกันวางเป้าหมาย จุดมุ่งหมายเดียวกัน ส่งผลให้ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการพัฒนาท้องถิ่นอย่างแท้จริง   เอกสารประกอบการสัมมนาทบทวนและจัดทำยุทธศาสตร์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ผลสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัย

การสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์   วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด้านการบริการวิจัย เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพสภาพแวดล้อมองค์กร   ขอบข่ายของการดำเนินงาน ศึกษารวบรวมข้อมูลกำหนดผู้มีส่วนได้ส่วนสีย ขอบเขตและกำหนดกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเป้าหมายในการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัย เก็บข้อมูล และสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ วิเคราะห์และประมวลผลการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ รายงานผลการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้ทราบความคาดหวังด้านบริการวิจัยของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สามารถนำข้อมูลผลการสำรวจความคาดหวังด้านบริการวิจัยของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ในการวางแผน กำหนด กลยุทธ์ และกำหนดเป้าหมายของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนำข้อมูล ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะที่ได้จากการสำรวจความคิดเห็นด้านบริการวิจัยของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไปประกอบการพิจารณาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น การกำหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของมหาวิทยาลัย กำหนดกลุ่มเป้าหมายในการสำรวจ จากหมวดโครงร่างองค์กร ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) โดยประชุมร่วมกันกำหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของมหาวิทยาลัย ออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มเป้าหมายด้านการจัดการเรียนการสอน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มเป้าหมายด้านการวิจัย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มเป้าหมายด้านการบริการวิชาการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มเป้าหมายด้านผู้ประกอบการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มเป้าหมายด้านบริหารจัดการ บทสรุปผู้บริหารการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด้านการจัดการเรียนการสอนการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด้านการวิจัยการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด้านการบริการวิชาการการสำรวจความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีผลกระทบต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์…

แผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 – 2570

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดทำแผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 – 2570 ขึ้นตามหน้าที่และอำนาจในกฎหมายมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนให้ประเทศไทยได้ทรัพยากรบุคคลที่ตรงกับความต้องการทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เติบโตท่ามกลางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดี แผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 – 2570 ฉบับสมบูรณ์จัดทำขึ้นภายใต้วิสัยทัศน์ “อุดมศึกษาสร้างคน สร้างปัญญา เพื่อพัฒนาสังคมไทยอย่างยั่งยืน” โดยเน้นใน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. พัฒนาศักยภาพผลเฉพาะ (Capacity Building) 2. ส่งเสริมระบบนิเวศน์วิจัยอุดมศึกษา (Research Ecosystem Building) 3. จัดระบบอุดมศึกษาใหม่ (Higher Education Tranformation) ให้คนไทยเป็นคนดี เก่ง มีทักษะแห่งอนาคต แวดล้อมด้วยสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ในทุกช่วงของชีวิต มีระบบภาครัฐที่โปร่งใสปลอดทุจริตและคล่องตัวทันต่อเหตุการณ์เปลี่ยนแปลง ซึ่งทั้งหมดนี้จะเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้ประเทศไทยมีศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศได้มากขึ้นเศรษฐกิจและสังคมเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ก้าวพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ทั้งนี้ ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดแผนการอุดมศึกษาฯ ได้ที่ https://drive.google.com/…/12UzeAe3h0DVrQkhhHB……

แผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2564 (ฉบับปรับปรุง ตุลาคม 2563)

แผนกลยุทธ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564 (ฉบับปรับปรุง ตุลาคม 2563)ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ฉบับทบทวน ตุลาคม 2563) วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564  |  เวลา 11.06 น. ขนาดไฟล์ 1MB

แผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีงบประมาณ 2564

แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วันที่ 3 ตุลาคม 2564  |  เวลา 23.38 น. ขนาดไฟล์ 2MB

แบบฟอร์มโครงสร้างแผนงาน ประจำปีงบประมาณ 2564

โครงสร้างแผนงาน ประจำปีงบประมาณ 2564แบบฟอร์มสำหรับจัดทำแผน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย 1. โครงสร้างแผนงาน ตามกรอบดำเนินงาน (ร่าง) แผนกลยุทธ์ 2560 – 2564 (ทบทวน 2563) 2. แบบฟอร์มเสนอแผนงาน โครงการ กิจกรรม (กนผ. 01) 3. แบบฟอร์มสรุปงบประมาณจำแนกตามโครงการ กิจกรรม (กนผ. 02)

แผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564 (ฉบับทบทวน ปี 2562)

แผนกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2564 (ฉบับทบทวน ตุลาคม พ.ศ. 2562)

แผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

แผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

Youth Startup Fund by กระทรวงอุดมศึกษาฯ

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) จัดตั้งกองทุนยุวสตาร์ทอัพ (Youth Startup Fund) ทุนประเดิม 100 ล้านบาท ผลักดันเยาวชนสู่การเป็นสตาร์ทอัพรุ่นใหม่   ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการ NIA นำเสนอเรื่อง การส่งเสริมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (Youth Startup Fund) ต่อยอดโครงการ Startup Thailand League ภายใต้แนวคิด“Youth is a Future Changer” ในที่ประชุมหารือเรื่องแนวทางการบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมของประเทศและการปฏิรูปอุดมศึกษา   Youth Startup Fund หรือ กองทุนยุวสตาร์พอัพ คือ กองทุนสนับสนุนเยาวชนและสถาบันการศึกษา พัฒนาศักยภาพเยาวชนไปสู่การเป็นผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ ทุนประเดิม 100 ล้านบาท ผ่านการบ่มเพาะ (Grooming) สร้างประสบการณ์จริง (Experiencing) สร้างทรายเม็ดใหม่ (Enterprising) พร้อมทั้งเปิดเวทีแสดงความสามารถของคนรุ่นใหม่ เช่น Youth Ted Talk, Youth Policy…

นโยบายการดำเนินงานของกระทรวง (ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์)

ดาวน์โหลดเอกสาร : นโยบายการดําเนินงานของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมในคราวการประชุมผู้บริหารกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเมื่อวันพุธที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ที่มา : กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม