แทนคุณ วงค์ษร

15 กุมภาพันธ์ วันเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์

ทำไมจึงเรียก… “วันเจ้าฟ้า” ๑๕ กุมภาพันธ์ วันเจ้าฟ้า….. ทำไมจึงเรียกเช่นนั้น ?? ตามบันทึกที่ส่งต่อกันมายังไม่ปรากฏว่าผู้ใดเป็นผู้คิดขึ้นเป็นท่านแรก แต่การที่เรียกวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ของทุกปีนั้นว่า “วันเจ้าฟ้า” มีนัยแห่งมูลเหตุดังนี้ พระอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ๑. เป็นวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของ สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร พระราชธิดาลำดับที่ ๔๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ซึ่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงหมายเอาความสำคัญดังกล่าวเป็นวันบำเพ็ญกุศลเพื่ออุทิศถวาย และจัดให้มีการวางพวงมาลา ในฐานะพระอง๕์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐต่อมหาวิทยาลัย นับตั้งแต่ทรงประทานกำเนิด “โรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์”   ๒. วันเจ้าฟ้ามีนัยมาตามข้อ ๑ แต่ในแรกเริ่มเดิมที่เมื่อเกิดการวางพวงมาลาขึ้นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เรียกวันดังกล่าวว่า “วันเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์” ตามพระนามของพระองค์ท่าน และวันดังกล่าวโรงเรียนราชินีบนก็จัดให้มีงานในรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน และเรียกว่า “วันวไลยอลงกรณ์” (แต่บันทึกในปี พ.ศ.…

แผนยุทธศาสตร์กองพัฒนานักศึกษา

วิสัยทัศน์VISION ส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาเรียนรู้อย่างมีความสุข เสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และความภูมิใจในความเป็นไทย เพื่อให้นักศึกษาสำเร็จออกไปเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ กองพัฒนานักศึกษา ปรัชญา (Philosophy) คุณภาพนักศึกษา คือหน้าที่ของเรา ค่านิยม (Values) Triple A A – Activeness : ทำงานเชิงรุก ริเริ่มสร้างสรรค์ A – Adaptive : ปรับตัวได้ดี พร้อมนำความเปลี่ยนแปลง A – Acceptance and Friendliness : เป็นที่ยอมรับและเป็นกัลยาณมิตร พันธกิจMISSIONนักศึกษาเรียนรู้อย่างมีความสุขส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษาเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อให้นักศึกษาสำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ ทักษะในศตวรรษที่ 21เสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 รวมถึงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยด้วยกิจกรรม ความสัมพันธ์อันดีศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักศึกษา ศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน เป้าประสงค์ : (GOAL) บัณฑิตเทคโนโลยีการเกษตรมีคุณภาพมาตรฐาน มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีศักยภาพสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ วิจัยและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการเกษตรสามารถแก้ไขปัญหาหรือเสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่น เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนของประเทศ…

แผนยุทธศาสตร์คณะเทคโนโลยีการเกษตร

วิสัยทัศน์VISION “เป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีการเกษตรเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน โดยการบูรณาการภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาสากล” คณะเทคโนโลยีการเกษตร ปรัชญา (Philosophy) สร้างสรรค์คนดี เทคโนโลยีการเกษตรทันสมัย ส่งเสริมภูมิปัญญาไทย ใส่ใจภูมิปัญญาสากล อัตลักษณ์ (Identity) บัณฑิตจิตอาสา พัฒนาท้องถิ่น เอกลักษณ์ (Uniqueness) เป็นสถาบันที่น้อมนำแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค่านิยม (Values) AGRI = A: Activeness ทางานเชิงรุก ริเริ่มสร้างสรรค์ G: Green สำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม R: Relationship มีเครือข่าย ความสัมพันธ์ I: Innovation มีนวัตกรรม พันธกิจMISSIONพัฒนาศักยภาพบัณฑิต และบุคลากรพัฒนาศักยภาพบัณฑิต และบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร และอาหารให้มีคุณภาพและมีคุณลักษณะ และเป็นที่พึงประสงค์ของสังคม พัฒนาการบริหารจัดการพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการวิจัยพัฒนาการวิจัยโดยสนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยเชิงประยุกต์ทางด้านเทคโนโลยีการเกษตร และอาหาร รวมทั้งการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน บริการวิชาการ ประสานความร่วมมือ พันธกิจสัมพันธ์พัฒนาการบริการวิชาการ ประสานความร่วมมือ พัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์แก่ชุมชนในท้องถิ่น ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเสริมนวัตกรรม ศิลปวัฒนธรรมส่งเสริมและสนับสนุนทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับบริบทของคณะ ประชาธิปไตยส่งเสริม และสนับสนุนงานกิจการนักศึกษาด้านประชาธิปไตย…

แผนยุทธศาสตร์คณะครุศาสตร์

วิสัยทัศน์VISION “มหาวิทยาลัยต้นแบบแห่งการผลิตครู พัฒนาศักยภาพมนุษย์ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” พันธกิจMISSIONยกระดับการผลิตครู และพัฒนาศักยภาพมนุษย์ยกระดับการผลิตครูและพัฒนาศักยภาพมนุษย์โดยกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive Learning) สร้างเครือข่ายความร่วมมือตามรูปแบบประชารัฐเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมพัฒนาการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น และเป็นต้นแบบที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเข้มแข็งของท้องถิ่น ประสานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยประสานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเพื่อขยายผลการปฏิบัติไปสู่ประชาชนในท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม รณรงค์สร้างจิตสำนึกทางวัฒนธรรมส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม รณรงค์สร้างจิตสำนึกทางวัฒนธรรมและการเรียนรู้ต่างวัฒนธรรม อนุรักษ์ฟื้นฟูและเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม พัฒนาระบบการบริหารจัดการศิลปวัฒนธรรมที่นำไปต่อยอดสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่เป็นเลิศพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ มีธรรมาภิบาลเพื่อเป็นต้นแบบของการพัฒนามหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ : (GOAL) บัณฑิตมีคุณภาพมาตรฐาน มีทักษะในการคิดวิเคราะห์และการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีศักยภาพสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ วิจัยและนวัตกรรมสามารถแก้ไขปัญหาหรือเสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่นเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนของประเทศ ประชาชนสามารถดำรงชีวิตโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็งประชาชนมีความสุข และมีรายได้เพิ่มขึ้น บัณฑิต และผู้มีส่วนได้เสียมีคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม จิตสำนึกที่ดีต่อสังคมโดยรวม รักษามรดกทางวัฒนธรรมและเข้าใจในสังคมพหุวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมีคุณภาพ มาตรฐาน โปร่งใส และธรรมาภิบาลตอบสนองต่อความต้องการประเทศ และเป็นที่ยอมรับต่อประชาชน ยุทธศาสตร์ : (STRATEGY) การผลิตบัณฑิตโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive…

การเตรียมการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงบประมาณ ได้จัดสัมมนาการเตรียมการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เมื่อวันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม 2562 เวลา 07.00 – 12.00 น. ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ศูนย์การประชุม อิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยท่านพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในการประชุมสัมมนา และท่าเดชาภิวัฒน์ ณ สงขลา ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ บรรยายหัวข้อการประชุมมอบนโยบายการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กล่าวถึง ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ/แผนแม่บท/ยุทธศาสตร์การจัดสรรฯ โครงสร้างยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำแนกตามยุทธศาสตร์จัดสรร หลักเกณฑ์การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานสถานะเงินนอกงบประมาณ ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และการเปิดเผยงบประมาณรายจ่ายประจำปี (Open Budget)  …

ทิศทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสู่การขับเคลื่อนประเทศ ของคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษาฯ

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เปิดบ้านต้อนรับคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา และคณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั้ง 38 แห่ง วันที่ 15 มกราคม 2563 โดยมี พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง ประธานคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา กล่าวเปิดงานและวัตถุประสงค์ในการจัดสัมมนาในครั้งนี้ จากนั้น ศ.คลินิกเกียรติคุณอุดม คชินทร ประธานอนุกรรมาธิการการอุดมศึกษา ในคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา บรรยาย เรื่อง “บทบาทและความสำคัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏในการขับเคลื่อนประเทศ” พร้อมด้วย หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล โดยมีผู้บริหารที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสัมมนา ณ ห้องประชุมราชนครินทร์ ชั้น 5 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์   เอกสารประกอบการประชุมทิศทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสู่การขับเคลื่อนประเทศสัมมนา “ทิศทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสู่การขับเคลื่อนประเทศ” คณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา วันที่ 15 มกราคม…

LET’S BE REINVENTING UNIVERSITY

LET’S BE REINVENTING UNIVERSITYถ่ายทอดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่แกนนำนักศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2562 กองนโยบายและแผน x องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ทบทวนตัวชี้วัดตามแผนมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 4

ทบทวนรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการของแผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทบทวนรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.2.2 จำนวนผลงานเชิงประจักษ์ของนักศึกษาที่ได้รับการอ้างอิง หรือใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.2.3 โครงการพัฒนากิจกรรมกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติผ่านการทำงานร่วมกับชุมชน เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.3.1 มีจำนวนอาจารย์ทั้งสิ้น 425 คน(อ้างอิง ข้อมูลสารสนเทศประจำปีการศึกษา 2561) มีอาจารย์นักพัฒนาที่เข้าร่วมโครงการกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติร่วมกับชุมชน เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.3.2 มีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 10,380 คนมีนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติร่วมกับชุมชน เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.11 ร้อยละของบัณฑิตครูที่สอบบรรจุครูได้ในการสอบในปีแรกที่จบการศึกษา เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.12 ร้อยละของบัณฑิตครูที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้นๆ ที่ได้รับการบรรจุเข้าทำงานในท้องถิ่น เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 2.2 จำนวนโครงการวิจัยรับใช้สังคมที่เกิดจากความร่วมมือองค์กรภาคีเครือข่าย เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 2.3 จำนวนผลงานวิจัยของอาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ เอกสารแนบ ตัวชี้วัด…

ถ่ายทอดทิศทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ประจำปี 2562

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดการถ่ายทอดทิศทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย (Reinventing University) ประจำปีการศึกษา 2562 และชี้แจงบุคลากรก่อนเปิดภาคการศึกษา 2/2562 ประจำปีการศึกษา 2562 แก่คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องประชุมเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ชั้น 5 อาคารเรียนรวมวิทยาศาสตร์ ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดี

การพัฒนากำลังตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ Manpower Development

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ถนนศรีอยุธยา) : ดร. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดการประชุมหารือเรื่องการผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (Manpower Development) โดยมี ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวง อว. ผู้บริหารภาคเอกชน อธิการบดี ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมประชุม การประชุมหารือในครั้งนี้ มีการนำเสนอการผลิตและพัฒนากำลังคนหลักสูตร Non-degree และหลักสูตร Degree โดย อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์) ประธานอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ผศ.ดร.วิโรจน์ ลิ้มไขแสง) และประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ผศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า) และการนำเสนอข้อมูลส่วนของภาคเอกชน โดย ผู้อำนวยการสำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์) รองนายกรัฐมนตรี กล่าวตอนหนึ่งว่า การพัฒนากำลังคนเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของประเทศมีความสำคัญมากในการพัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 ความต้องการบุคคลกรทั้งในและนอก EEC มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งกำลังขับเคลื่อนนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง…