LET’S BE REINVENTING UNIVERSITY

LET’S BE REINVENTING UNIVERSITYถ่ายทอดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่แกนนำนักศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2562 กองนโยบายและแผน x องค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ทบทวนตัวชี้วัดตามแผนมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 4

ทบทวนรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการของแผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทบทวนรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่ 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.2.2 จำนวนผลงานเชิงประจักษ์ของนักศึกษาที่ได้รับการอ้างอิง หรือใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.2.3 โครงการพัฒนากิจกรรมกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติผ่านการทำงานร่วมกับชุมชน เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.3.1 มีจำนวนอาจารย์ทั้งสิ้น 425 คน(อ้างอิง ข้อมูลสารสนเทศประจำปีการศึกษา 2561) มีอาจารย์นักพัฒนาที่เข้าร่วมโครงการกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติร่วมกับชุมชน เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.3.2 มีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น 10,380 คนมีนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติร่วมกับชุมชน เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.11 ร้อยละของบัณฑิตครูที่สอบบรรจุครูได้ในการสอบในปีแรกที่จบการศึกษา เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 1.12 ร้อยละของบัณฑิตครูที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้นๆ ที่ได้รับการบรรจุเข้าทำงานในท้องถิ่น เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 2.2 จำนวนโครงการวิจัยรับใช้สังคมที่เกิดจากความร่วมมือองค์กรภาคีเครือข่าย เอกสารแนบ ตัวชี้วัด 2.3 จำนวนผลงานวิจัยของอาจารย์และนักวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ เอกสารแนบ ตัวชี้วัด…

ถ่ายทอดทิศทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ประจำปี 2562

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดการถ่ายทอดทิศทางการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย (Reinventing University) ประจำปีการศึกษา 2562 และชี้แจงบุคลากรก่อนเปิดภาคการศึกษา 2/2562 ประจำปีการศึกษา 2562 แก่คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องประชุมเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ ชั้น 5 อาคารเรียนรวมวิทยาศาสตร์ ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดี

การพัฒนากำลังตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ Manpower Development

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ถนนศรีอยุธยา) : ดร. สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดการประชุมหารือเรื่องการผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (Manpower Development) โดยมี ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พร้อมด้วยผู้บริหารกระทรวง อว. ผู้บริหารภาคเอกชน อธิการบดี ผู้แทนจากสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมประชุม การประชุมหารือในครั้งนี้ มีการนำเสนอการผลิตและพัฒนากำลังคนหลักสูตร Non-degree และหลักสูตร Degree โดย อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์) ประธานอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (ผศ.ดร.วิโรจน์ ลิ้มไขแสง) และประธานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ผศ.ดร.เรืองเดช วงศ์หล้า) และการนำเสนอข้อมูลส่วนของภาคเอกชน โดย ผู้อำนวยการสำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์) รองนายกรัฐมนตรี กล่าวตอนหนึ่งว่า การพัฒนากำลังคนเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของประเทศมีความสำคัญมากในการพัฒนาประเทศไปสู่ Thailand 4.0 ความต้องการบุคคลกรทั้งในและนอก EEC มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งกำลังขับเคลื่อนนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง…

โครงการอาสาประชารัฐ

ปรัชญาของโครงการ   บูรณาการยุทธศาสตร์ชาติ แผนอุดมศึกษาระยะยาว และแผนการปฏิรูประบบการอุดมศึกษา มุ่งสู่วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มุ่งสร้างประชากรของโลกในศตวรรษที่ 21 ฯพณฯ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ” การเรียนที่แบบเป็น Lecture หรือ Case Study ที่มุ่งเน้นแต่การให้ความรู้เชิงทฤษฎีอย่างเดียว (Head) คงไม่เพียงพอ แต่จะทำอย่างไรให้ผู้เรียนได้มีโอกาสลงมือทำจริง (Head) การสร้างการตระหนักรู้และส่งเสริมให้คนเป็นคนดี (Heart) พร้อมกับมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง (Health) ซี่งท้ายที่สุดจะสร้างประชากรของโลกในศตวรรษที่ 21 (Global Smart Citizen in 21th Century)” "อาสาประชารัฐ" จะให้อะไรกับสังคมไทย หลักเกณฑ์และเงื่อนไขสำคัญ แผนดำเนินงานและงบประมาณ สถาบันอุดมศึกษาจะเข้าร่วมโครงการได้อย่างไร? สถาบันอุดมศึกษาสามารถส่งข้อเสนอได้ทางเว็บไซต์โครงการอาสาประชารัฐ (http://hsmi2.psu.ac.th/par) ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2562 หน่วยงานงานรับผิดชอบ สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา…

Youth Startup Fund by กระทรวงอุดมศึกษาฯ

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) จัดตั้งกองทุนยุวสตาร์ทอัพ (Youth Startup Fund) ทุนประเดิม 100 ล้านบาท ผลักดันเยาวชนสู่การเป็นสตาร์ทอัพรุ่นใหม่   ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการ NIA นำเสนอเรื่อง การส่งเสริมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (Youth Startup Fund) ต่อยอดโครงการ Startup Thailand League ภายใต้แนวคิด“Youth is a Future Changer” ในที่ประชุมหารือเรื่องแนวทางการบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมของประเทศและการปฏิรูปอุดมศึกษา   Youth Startup Fund หรือ กองทุนยุวสตาร์พอัพ คือ กองทุนสนับสนุนเยาวชนและสถาบันการศึกษา พัฒนาศักยภาพเยาวชนไปสู่การเป็นผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ ทุนประเดิม 100 ล้านบาท ผ่านการบ่มเพาะ (Grooming) สร้างประสบการณ์จริง (Experiencing) สร้างทรายเม็ดใหม่ (Enterprising) พร้อมทั้งเปิดเวทีแสดงความสามารถของคนรุ่นใหม่ เช่น Youth Ted Talk, Youth Policy…

มาตรการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร

มาตรการจูงใจเพื่อการยกระดับทักษะบุคลากร มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อสนับสนุนโครงการทวิภาคี และ Work-Integrated Learning (WiL) มาตรการสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันเพื่อพัฒนาบุคลากรทักษะสูงโดยภาคอุตสาหกรรม สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ กองประสานงานและพัฒนาปัจจัยการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน Email : kwanchai@boi.go.th (นายขวัญชัย วรกัลยากุล ผู้อำนวยการ) chatchadaporn@bot.go.th (นางสาวชัชฎาภรณ์ กรุงเกษม) โทร : 02-553-8124  

Re-Inventing Universities (Why & How)

Re-Inventine Universities Why & How โดย คณะทำงานขับเคลื่อนและติดตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประเทศต้องการให้มหาวิทยาลัยเป็นแนวหน้า (Forefront) ในการขับเคลื่อนประเทศสู่ Value-based Economy แก้ Painpoints? พลิกโฉมมหาวิทยาลัย? Timeline 2019-2020 แนวทางการกำหนด Institutional Re-position Plan

ขนมถ้วยฟู | โครงการยกระดับสินค้าชุมชน หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)

ในสมัยโบราณคนไทยนิยมทำขนมเพื่อใช้ในเทศกาล ประเพณีต่างๆ ขนมไทยชนิดหนึ่งที่มีความหมาย แสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง ฟูเฟื่อง เป็นศิริมงคล และยังมีรสชาติที่แสนอร่อยชนิดหนึ่งก็คือ ขนมถ้วยฟู “บ้านขนมมรกต” เป็นสถานที่หนึ่งที่ชาวจังหวัดสระแก้วรู้จักกันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะความอร่อยของขนมที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันกันอย่างดี สืบทอดตำนานความอร่อยจากอดีตคุณแม่สู่รุ่นปัจจุบันรุ่นลูก ชื่อเสียงที่สะสมมาอย่างต่อเนื่องคือ การทำขนมถ้วยฟูสมุนไพรที่มีความหอม รสชาติอร่อยคงไว้ซึ่งความเป็นเอกลักษณ์ของบ้านขนมมรกต คุณภัสสรภรณ์ ทรัพย์ทวีพูนผล ผู้สืบทอดตำนานการทำขนมถ้วยฟูจากคุณแม่เล่าให้ฟังว่า แต่เดิมได้ทำขนมถ้วยฟูตามสูตรคุณแม่ที่สืบทอดกันมานานหลายสิบปี และได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องคือการนำสมุนไพรมาใส่ลงในแป้งเพื่อให้เกิดสีสันสวยงาม สีที่ใส่จะเป็นธรรมชาติ สีชมพูเกิดจากการใส่ใช้น้ำฝาง สีขาวไม่ใส่สี สีเขียวใส่น้ำใบเตย สีเหลืองใส่น้ำลูกตาลและสีฟ้าใช้น้ำดอกอัญชัญ สีที่ใส่จะเป็นสีธรรมชาติ ส่วนผสมก็จะมีแป้งข้าวเจ้า น้ำกะทิ น้ำตาลทราย น้ำลอยดอกไม้ แป้งเชื้อข้าวหมาก   ขนมถ้วยฟู เป็นขนมโบราณที่นำเข้ามาในเมืองไทยเราโดยคนจีน และเป็นอีก 1 ใน 9 ของขนมมงคลของคนไทย ชาวจีนเรียกขนมถ้วยฟูว่า ฮวดโก้ย หมายถึง มีแต่ความเจริญรุ่งเรืองเฟื่องฟู จึงเป็นอีกขนมหนึ่งที่ขาดไม่ได้ในงานมงคล ชาวจีนและชาวไทยนิยมนำไปไหว้เจ้าหรือประกอบพิธีงานมงคลต่างๆ ในงานแต่งงานนิยมทำขนมถ้วยฟูเป็นสีแดง ใช้ไหว้เจ้าหรืองานมงคลต่างๆ นิยมใช้สีชมพู ใช้ในงานอวมงคลหรือไหว้บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วนิยมใช้สีขาว ในปัจจุบันยังหาทานได้ง่ายมีหลากหลายสี เช่น ชมพู เขียว ขาว ฟ้า…

งบประมาณ ฉบับประชาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี ได้เผยแพร่เอกสารงบประมาณ ฉบับประชาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อนำเสนองบประมาณรายจ่ายประจำปีในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึง และเข้าใจข้อมูลการจัดทำงบประมาณรายจ่ายได้ง่ายขึ้น ซึ่งช่วยเพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการงบประมาณ นำไปสู่การเป็นรัฐบาลที่โปร่งใส และมีความน่าเชื่อถือ   ข้อมูลงบประมาณตามร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ผ่านความเห็นชอบคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2562 โดยได้นำเสนอข้อมูลสภาวะเศรษฐกิจ ประมาณการรายรับ แหล่งที่มาของรายรับ นโยบาย วงเงินและโครงสร้างงบประมาณ จำแนกตามงบประมาณตามมิติต่างๆ และการจัดลำดับความสำคัญของกระทรวงที่ได้รับงบประมาณสูง รวมทั้งมีการนำเสนอข้อมูลประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับงบประมาณสู รวมทั้งได้มีการนำเสนอจ้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน   สำหรับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย 127,895,500,000 บาท ลดลงจากปีงบประมาณที่ผานมา 7,940,800,000 บาท และกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับจัดสรรงบประมาณมากที่สุด 368,660,344,500 บาท   สำนักงบประมาณ ได้เปิดระบบแสดงความคิดเห็นต่องบประมาณฉบับประชาชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สามารถร่วมแสดงความคิดเห็นได้ที่…