บทความเกี่ยวข้องกับการศึกษา และด้านการวางแผน นโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัย
ช่วงนี้น้องๆ ม.6 กำลังอยู่ในช่วงของการหาที่เรียนใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่เรามุ่งเน้นในการผลิตบัณฑิตจิตอาสา พัฒนาท้องถิ่น เปิดสอนทั้งหมด 75 หลักสูตร ทุกคณะพร้อมยินดีต้อนรับน้องๆทุกคน ในปีการศึกษา 2562 แต่น้องๆ หลายๆ คนอาจจะยังสับสนอยู่ว่าตัวเองนั้น มีความถนัด หรือมีความสามารถพิเศษอะไรบ้าง แล้วต้องเลือกเรียนในคณะไหนที่ใช่สำหรับตัวเอง วันนี้พี่แทนจึงหา Infographic สวยๆ ข้อมูลดีๆ มาให้น้องๆ ม.6 และน้อง ม.5 ที่กำลังเตรียมตัวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยกันครับ
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เรื่อง “กระบวนการวิเคราะห์ค่างาน เพื่อก้าวเข้าสู่ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับชำนาญการ” การวิเคราะห์ค่างาน หมายถึง กระบวนการวัดคุณค่าของตำแหน่ง โดยนำงานมาเปรียบเทียบกัน ภายใต้องค์ประกอบที่เป็นหลักเพื่อตีค่างานเป็นข้อมูลที่เป็นจริง เขียนวิเคราะห์งานที่ปฏิบัติมีขั้นตอนอย่างไรบาง ผ่านความเห็นชอบของใครบ้าง งานที่ปฏิบัติขั้นตอนใด ต้องผ่านตรวจสอบหรือไม่ผ่านการตรวจสอบ และงานที่ปฏิบัติต้องรายงานอย่างไร (เวลา) โดยมีกระบวนขั้นตอนดำเนินการดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง การประเมินค่างานเพื่อกำหนดระดับตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับชำนาญการของพนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุน พ.ศ. 2559 และประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการกำหนดตำแหน่งและการแต่งตั้นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น เพื่อให้ทราบหลักเกณฑ์การประเมินค่างานสำหรับตำแหน่งฯ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง การประเมินค่างานเพื่อกำหนดระดับตำแหน่ง ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับชำนาญการของพนักงานมหาวิทยาลัย สายสนับสนุน พ.ศ. 2559 ประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการกำหนดตำแหน่งและการแต่งตั้นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น ขั้นตอนที่ 2 จัดทำแบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ระดับชำนาญการและชำนาญการพิเศษ ตามแบบประเมินค่างานตามที่คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) กำหนด โดยการจัดทำข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่งที่จะขอปรับปรุงการกำหนดระดับตำแหน่ง…
กลุ่มรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มร.สส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มรภ.พระนคร) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) กลุ่มภาคเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (มร.ชม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มร.ชร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (มร.ลป.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (มรอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มรพส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (มรภ.กพ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (มร.นว.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (มรภ.พช. กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด.) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรล.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มร.สน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มรนม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (มรภ.บร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (มรภ.สร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มชย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (มรภ.รอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก.) กลุ่มภาคกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (มร.อย.) มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี (มร.รพ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (มรร.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (มรท.) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (มรว.) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (มรภ.พบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (มรภ.กจ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม (มรน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง (มร.มจ.) กลุ่มภาคใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี (มรส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช (มร.นศ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (มรภ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สข.) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (มรย.)
กลุ่มรัตนโกสินทร์ กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (มร.สส.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (มจษ.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มรภ.พระนคร) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (มรธ.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) กลุ่มภาคเหนือ กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (มร.ชม.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (มร.ชร.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (มร.ลป.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (มรอ.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มรพส.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (มรภ.กพ.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (มร.นว.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (มรภ.พช.) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (มร.อด.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มรม.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (มรล.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร (มร.สน.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (มรนม.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (มรภ.บร.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (มรภ.สร.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (มรภ.อบ.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (มชย.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด (มรภ.รอ.) กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (มรภ.ศก.) กลุ่มภาคกลาง…
ท่านอธิการบดี อาจารย์ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว ได้มอบนโนบายการพัฒนาคุณภาพการบริการของหน่วยงานสนับสนุนเพื่อสร้างประสบการณ์ให้แก่ผู้รับบริการผ่านแนวคิด Design Thinking, Business model Canvas, Customer First เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2562 ที่ผ่านมา ในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนกลยุทธ์และจัดทำแผนปฏิบัติการสำนักงานอธิการบดี ประจำปีงบประมาณ 2563 ณ โรงแรมระยองรีสอร์ทบีช แอนด์ สปา จ.ระยอง ระหว่างวันที่ 13-15 พฤษภาคม 2562 เพื่อให้สำนักงานอธิการบดี และหน่วยงานภายใต้กำกับได้นำนโยบายดังกล่าวพัฒนาการบริการ และการทำงานให้ผู้รับบริการเกิดความประทับใจ มีประสิทธิภาพ และพัฒนาระบบบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ ที่มา : อาจารย์ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
MOOC คือการเรียนคอร์สออนไลน์กับมหาวิทยาลัยทั่วโลก เพียงปลายนิ้วคลิก ซึ่งมีความต่างจาก E-learning มหาวิทยาลัยทั่วโลกเปิดคอร์สออนไลน์ไปแล้วกว่า 700 แห่ง แจ้งเกิดเว็บไซต์ MOOC ชั้นนำกว่า 30 แห่ง ในไทย ตลาด MOOC เริ่มคึกคัก อาทิ Chula MOOC ล่าสุดยอดลงทะเบียนเรียนเฉียด 6 หมื่น ยอดเรียนจบ 26% แซง MOOC ชั้นนำของโลกแล้ว ทันทีที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ฮาร์วาร์ด และ MIT เปิดหลักสูตรออนไลน์ให้คนเข้าไปเรียนฟรีเป็นแห่งแรกในปี 2012 ซึ่งรู้จักกันแพร่หลายในเวลาต่อมา ในชื่อของ “MOOC” (Massive Open Online Courses) ไม่ทันข้ามปี การเรียนการสอนในรูปแบบ MOOC ได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลก มีผู้ลงทะเบียนเรียนบน MOOC ไม่ต่ำกว่า 1 แสนคน ไม่เฉพาะแต่ในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แต่มีมหาวิทยาลัยทั่วโลกกว่า 700 แห่ง ที่หันมาเปิดคอร์สเรียนออนไลน์ ในปี 2016…
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2562 ท่านอธิการบดี อาจารย์ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว เป็นประธานประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครั้งที่ 5/2562 ณ ห้อง สสร. 302 ชั้น 3 อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ได้มอบนโยบายทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย ในปี 2563 เพื่อไปสู่เป้าหมายร่วมกัน ภายใต้แนวคิด Reinventing VRU. to Survival ดังมีสถานการณ์ ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรมที่สำคัญ ดังรายละเอียดในแผนภาพ แผนงานพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ โครงการขาย ปรับปรุงพื้นที่เพื่อการเรียนรู้และห้องเรียนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ทุกคณะ และสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ) โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการ ศูนย์การเรียนรู้ และจัดหาครุภัณฑ์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ทุกคณะ และสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ) โครงการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ บทเรียนจัดหา ผลิตสื่อ ชุดการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยตนเอง (ทุกคณะ และสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน) โครงการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อปวงชน ชุดการเรียนรู้/ฝึกอบรมยกระดับสมรรถนะทักษะให้แก่ประชาชน คนทำงานผู้ต้องการเปลี่ยนอาชีพ (ทุกคณะ…
กระบวนการการจัดทำแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์ คือ การวางแผนที่มีการกำหนดวิสัยทัศน์ มีการกำหนดเป้าหมายระยะยาวที่แน่ชัด มีการวิเคราะห์อนาคตและคิดเชิงการแข่งขัน ที่ต้องการระบบการทำงานที่มีความสามารถ
| วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม 2562 สภาพทะเลสีน้ำเงิน วางใจได้จริงหรือ Blue Ocean Strategy หรือ กลยุทธ์ทะเลสีน้ำเงิน เป็นแนวคิดจากนักวิชาการสองคน คือ W. Chan Kim และ Renee Mauborgne ซึ่งทั้งคู่เป็นอาจารย์จากสถาบันทางด้านบริหารธุรกิจชื่อดังในฝรั่งเศส โดยจุดเริ่มต้นของทฤษฎีนี้มาจากบทความ Blue Ocean ในวารสาร Harvard Business Review โดยหลักของ Blue Ocean จะไม่มุ่งเน้นที่จะตอบสนองต่อความต้องการมีอยู่ของตลาด แต่จะเน้นในการสร้างความต้องการ หรืออุปสงค์ขึ้น พูดง่าย ๆ ก็คือ เน้นการหาตลาดใหม่ ความต้องการใหม่ แทนที่จะแข่งขันกันอย่างดุเดือดในตลาดเดิม ซึ่งตรงกันข้ามกับ Red Ocean Red Ocean ถูกระบุตัวตนหลังจากการปรากฏขึ้นของ Blue Ocean Strategy โดยนิยามของ Red Ocean คือ ตลาดที่มีการแข่งขันกันสมบูรณ์ หากตลาดอยู่ในภาวะสมดุล…
| วันจันทร์ที่ 7 มกราคม 2562 OKR คืออะไร?? Objectives and key results (OKR) คือ วิธีการตั้งเป้าหมายของแต่ละบุคคลในองค์กรให้มีเป้าหมายที่สอดคล้องกันทั้งองค์กรโดยมีวัตถุประสงค์หลัก (objectives) ซึ่งเป็นการบอกจุดมุ่งหมายขององค์กรในระดับต่างๆและมีผลลัพธ์หลัก (Key results) คือ วิธีการทำให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งเป้าหมายไว้ โดยกำหนดค่าความสำเร็จที่ทำให้จุดมุ่งหมายนั้นบรรลุผลซึ่งระบบ OKR จะทำให้บุคลากรทุกคนในองค์กรทราบวิธีการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรในทิศทางเดียวกันซึ่งจะท าให้องค์การก้าวไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว OKRs มาจากไหน?? OKR เป็นหลักการที่ Google นำมาใช้ และประสบความสำเร็จ ทำให้บริษัทเทคโนโลยีอื่นๆ นำมาใช้ตามด้วย ซึ่งจริงๆ แล้ว Google ไม่ใช่บริษัทแรกที่ใช้หลักการนี้ แต่ Andy Drove แห่ง Intel คือบริษัทแรกที่นำหลักการนี้มาใช้ในปี 1974 จึงได้ชื่อว่าบิดาแห่ง OKR ทำไมต้อง OKR One Direction ทุกคนทำงานเพื่อจุดหมายเดียวกัน สร้างวินัย และการ Focus…